เพลง

เพลง ความหมายของ หมายถึง สำเนียงขับร้อง ทำนองดนตรี กระบวนการวิธีรำดาบ รำทวน เป็นต้น ซึ่งการร้องแก้กันมีชื่อต่าง ๆ เช่น เพลงปรบไก่ เพลงฉ่อย (ราชบัณฑิตยสถาน , 2529 : 604)

ทรง จิตประสาท (2534 : 18) กล่าวถึงเพลงประกอบการสอนว่า เพลง คือ ลำนำ ทำนอง ท่วงทำนองของดนตรี คำขับร้องต่าง ๆ ที่สามารถนำมาใช้ และภารกิจอื่น ๆ ในชีวิตประจำวันได้อีก เราเรียกกิจกรรมนี้ว่านันทนาการ (ดนู จีระเดชากุล , 2541 : 8) PG SLOT

การร้องเพลง จัดได้ว่าเป็นกิจกรรมนันทนาการประเภทหนึ่ง ซึ่งสามารถนำมาใช้ได้
ในหลาย ๆ โอกาส เช่น การร้องเพลงในยามว่างกับครอบครัว การร้องเพลง หรือการเล่นประกอบเพลงกับเด็ก ๆ ในโรงเรียน ในหมู่บ้าน การร้องเพลงในช่วงเวลาว่างของการจัดฝึกอบรมสัมมนา การเข้าค่ายพักแรม การร้องเพลงบนรถขณะไปค่ายพักแรม ท่องเที่ยวทัศนศึกษา หรือร้องเล่นในกลุ่มเพื่อนก็นับได้ว่าเป็นการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์และมีคุณค่าทางนันทนาการอีกรูปแบบหนึ่ง เพลง

เพลง

การร้อง เป็นกิจกรรมที่สามารถเข้าร่วมได้ง่ายและผู้เข้าร่วมนั้นอาจจะเข้าร่วมได้
หลายแบบ เช่น การร้องเพลงเอง การเคลื่อนไหวประกอบเพลง (Motion songs) เป็นการ
ทำท่าทางหรือเคลื่อนไหวตามจังหวะทำนองเพลง (Singing games) เป็นการนำเอาเกมมาเล่น
โดยมีเนื้อเพลงและจังหวะทำนองเพลง มาเป็นส่วนประกอบ (พีรพงษ์ บุญศิริ , 2542 : 73)

กิจกรรมการร้องเพลงเป็นสิ่งที่มีอิทธิพลต่อมนุษย์มาก เสียงเพลงจัดเป็นการสื่อสารและถ่ายทอดความรู้สึกต่าง ๆ เช่น ความซาบซึ้ง ความสมหวัง ความผิดหวัง ความรักความเอื้ออาทร การร้องเพลงนั้นมีหลายแบบด้วยกัน สำหรับของไทยเรานั้น ก็จะมีทั้งเพลงพื้นเมือง เพลงรำวง เพลงฉ่อย ลำตัด เพลงกล่อม เพลงเห่เรือ ฯลฯ นอกจากนี้ยังมีเพลงไทยสากล ทั้งลูกกรุง ลูกทุ่ง
อีกมากมาย การร้องเพลงนี้นอกจากจะช่วยสร้างความครื้นเครงแล้วยังจะมีผลต่อการบำบัดรักษาโรคทางจิตบางอย่างได้ด้วย (คณิต เขียววิชัย , 2534 : 80)

นันทนาการ (Recreation) หมายถึง การแสดงออกตามธรรมชาติของมนุษย์ในด้าน
ความต้องการและความสนใจ เพื่อแสวงหาความพึงพอใจในยามว่างและเป็นการแสดงออก
ที่พึงประสงค์ของสังคมทำให้มีความสุข ก่อให้เกิดความสนุกสนาน เพลิดเพลิน ช่วยผ่อนคลายความตึงเครียด ลดความเหน็ดเหนื่อยเมื่อยล้า ทำให้รู้สึกสดชื่น กระปรี้กระเปร่า มีพลังเตรียมพร้อมที่จะเผชิญปัญหา

ความสำคัญของเพลง

สำนักงานคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ (2526 : 82) กล่าวถึง ความสำคัญของเพลงไว้ว่า

เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลินและเกิดการเรียนรู้ในเรื่องนั้น ๆ การนำเพลงและเกมเข้าผสมผสานกันในการสอน เป็นลักษณะเรียนปนเล่น นับว่าสอดคล้องกับหลักจิตวิทยา วัยเด็ก

แฮมมอนด์ (Hammond อ้างถึงในดนู จีระเดชากุล , 2541 : 110) นักจิตวิทยาชาวอเมริกัน ได้กล่าวถึงคุณค่าของเพลงและเสียงดนตรีที่มีผลต่อพัฒนาการของเด็กในด้านต่าง ๆ ดังนี้
1. ทางด้านร่างกาย เสียงเพลงและเสียงดนตรี จะกระตุ้นให้เด็กมีการเคลื่อนไหวให้เข้ากับจังหวะเพลง เช่น การเต้น การกระโดด การสไลด์ การควบม้า และแสดงท่าทางต่าง ๆ
2. ทางด้านโสตประสาทเด็กจะฝึกหัดฟังเสียงเพลง และเสียงดนตรี รู้จักแยกแยะเสียงร้อง และเสียงอุปกรณ์ดนตรีต่าง ๆ และยังพยายามที่จะฝึกหัดร้องตาม
3. ทางด้านอารมณ์ เสียงเพลงและเสียงดนตรี สามารถขับกล่อมเปลี่ยนแปลงอารมณ์

เพลง หมายถึง สำเนียงขับร้อง ทำนองดนตรี กระบวนการวิธีรำดาบ รำทวน เป็นต้น
ซึ่งการร้องแก้กันมีชื่อต่าง ๆ เช่น เพลงปรบไก่ เพลงฉ่อย (ราชบัณฑิตยสถาน , 2529 : 604)
ทรง จิตประสาท (2534 : 18) กล่าวถึงเพลงประกอบการสอนว่า เพลง คือ ลำนำ ทำนอง ท่วงทำนองของดนตรี คำขับร้องต่าง ๆ ที่สามารถนำมาใช้ และภารกิจอื่น ๆ
ในชีวิตประจำวันได้อีก เราเรียกกิจกรรมนี้ว่านันทนาการ (ดนู จีระเดชากุล , 2541 : 8)
การร้องเพลง จัดได้ว่าเป็นกิจกรรมนันทนาการประเภทหนึ่ง ซึ่งสามารถนำมาใช้ได้
ในหลาย ๆ โอกาส เช่น การร้องเพลงในยามว่างกับครอบครัว การร้องเพลง หรือการเล่นประกอบเพลงกับเด็ก ๆ ในโรงเรียน ในหมู่บ้าน การร้องเพลงในช่วงเวลาว่างของการจัดฝึกอบรมสัมมนา การเข้าค่ายพักแรม การร้องเพลงบนรถขณะไปค่ายพักแรม ท่องเที่ยวทัศนศึกษา
หรือร้องเล่นในกลุ่มเพื่อนก็นับได้ว่าเป็นการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์และมีคุณค่าทางนันทนาการอีกรูปแบบหนึ่ง
การร้องเพลง เป็นกิจกรรมที่สามารถเข้าร่วมได้ง่ายและผู้เข้าร่วมนั้นอาจจะเข้าร่วมได้
หลายแบบ เช่น การร้องเพลงเอง การเคลื่อนไหวประกอบเพลง (Motion songs) เป็นการ
ทำท่าทางหรือเคลื่อนไหวตามจังหวะทำนองเพลง (Singing games) เป็นการนำเอาเกมมาเล่น
โดยมีเนื้อเพลงและจังหวะทำนองเพลง มาเป็นส่วนประกอบ (พีรพงษ์ บุญศิริ , 2542 : 73)
กิจกรรมการร้องเพลงเป็นสิ่งที่มีอิทธิพลต่อมนุษย์มาก เสียงเพลงจัดเป็นการสื่อสารและถ่ายทอดความรู้สึกต่าง ๆ เช่น ความซาบซึ้ง ความสมหวัง ความผิดหวัง ความรักความเอื้ออาทร การร้องเพลงนั้นมีหลายแบบด้วยกัน สำหรับของไทยเรานั้น ก็จะมีทั้งเพลงพื้นเมือง เพลงรำวง เพลงฉ่อย ลำตัด เพลงกล่อม เพลงเห่เรือ ฯลฯ นอกจากนี้ยังมีเพลงไทยสากล ทั้งลูกกรุง ลูกทุ่ง
อีกมากมาย การร้องเพลงนี้นอกจากจะช่วยสร้างความครื้นเครงแล้วยังจะมีผลต่อการบำบัดรักษาโรคทางจิตบางอย่างได้ด้วย (คณิต เขียววิชัย , 2534 : 80)

นันทนาการ (Recreation) หมายถึง การแสดงออกตามธรรมชาติของมนุษย์ในด้าน
ความต้องการและความสนใจ เพื่อแสวงหาความพึงพอใจในยามว่างและเป็นการแสดงออก
ที่พึงประสงค์ของสังคมทำให้มีความสุข ก่อให้เกิดความสนุกสนาน เพลิดเพลิน ช่วยผ่อนคลายความตึงเครียด ลดความเหน็ดเหนื่อยเมื่อยล้า ทำให้รู้สึกสดชื่น กระปรี้กระเปร่า มีพลังเตรียมพร้อมที่จะเผชิญปัญหา

เกมสล็อตเล่นง่ายได้เงินจริง>>>> PGSLOT

สล็อตน้องใหม่มาแรงในขณะนี้>>>EPICWIN

บทความน่าอ่าน>> LINE TV บริการวิดีโอสตรีมมิ่ง